Posts

Artillery Hornet + OctoPrint + Klipper

Image
 Artillery Hornet + OctoPrint + Klipper 1.ติดตั้ง OctoPrint บน Raspberry Pi 1.1 Download OctoPi Image จาก https://octoprint.org/download/ 1.2 ติดตั้ง Raspberry Pi Imager เพื่อใช้ flash image จากข้อ 1.1 ลง sd card สามารถตั้งค่า wifi ได้ตั้งแต่ตอนนี้เลย 1.3 เสียบ sd card เข้า Raspberry Pi แล้วเปิดเครื่อง รอสักครู่แล้วเปิด Web Browser เข้า http://octopi.local 2.ติดตั้ง Klipper 2.1 ssh เข้าไปที่ Raspberry Pi 2.2 ติดตั้ง Klipper git clone https://github.com/Klipper3d/klipper ./klipper/scripts/install-octopi.sh 2.3 Complie Klipper Firmware cd ~/klipper/ make menuconfig เลือก Architecture เป็น STM32, Model เป็น STM32F401, No bootloader, Interface ใช้ USB (on PA11/PA12) เสร็จแล้วสั่ง make 2.4 Flash Klipper firmware ลง Printer 1) เปลี่ยน printer ให้รอรับการ flash ด้วยการส่ง command M997 ผ่าน OctoPrint 2) หา id ของ printer ด้วยคำสั่ง lsusb แล้วดู id ของ  STMicroelectronics STM Device in DFU Mode 3) สั่ง flash ไปที่ id นั้น เช่น make flash FLASH_DEVICE=0483:df11 3.Config Printer โดยสร้าง file pri

Proxmox on Raspberry Pi

Image
Proxmox on Raspberry Pi   อุปกรณ์ที่ใช้ : 1. Raspberry Pi 4 Model B - 8GB 2. Argon One M.2 Case with M.2 SSD Kits  + M2. SSD 512GB การติดตั้ง : 1.Download RaspiOS (debian11 bulleyes) จาก  https://www.raspberrypi.com/software/operating-systems/ 2.เขียนลง SD Card หรือ Flash Drive 3.Boot เพื่อติดตั้งและตั้งค่าให้เรียบร้อย เปิดใช้งาน SSH Server ด้วย 4.Download RaspiOS อีกทีเพื่อเขียนลง SSD หรือจะใช้คำสั่ง scp ส่งไปก็ได้ (scp 2021-10-30-raspios-bullseye-arm64.zip raspberri@IP-ADDRESS:~) 5.Boot ด้วย SSD 6.ติดตั้ง Proxmox apt update && apt install -y curl curl https://raw.githubusercontent.com/pimox/pimox7/master/RPiOS64autoinstall.sh > RPiOS64autoinstall.sh nano RPiOS64autoinstall.sh #กำหนด ชื่อ host + ip +gateway chmod +x RPiOS64autoinstall.sh ./RPiOS64autoinstall.sh 7.เปิดใช้งานที่ https://IP-ADDRESS:8006 การใช้งาน : 1.สร้าง LXC Container 1.1 Download Image เพื่อสร้าง CT Template จาก  https://jenkins.linuxcontainers.org/view/Images/ เลือกเอา image ชนิด arm64 ชื่อไฟล์  rootfs

Proxmox on Intel NUC

Image
Proxmox on Intel NUC Intel NUC ที่ใช้ คือ  Intel NUC 7 Mini PC (BOXNUC7CJYSAL1) มีช่องให้ใส่ SATA 2.5" 1 ช่อง ก็เลยใส่ SSD 512GB ของ  Silicon Power เข้าไป 1.download Proxmox ISO จาก https://www.proxmox.com/en/downloads 2.เขียนลง USB Drive 3.ติดตั้งตามขั้นตอนปกติ เลือก drive ที่จะติดตั้ง (ปรับขนาด partition เองไม่ได้) 4.ติดตั้งเสร็จเข้าใช้งานผ่าน browser ที่ port :8006 5.ตรง Item Nodes คือรายการ Proxmox ในระบบ ส่วนอันแรกที่ชื่อ pve (ตั้งตอนติดตั้ง) ก็คือเครื่องที่เราพึ่งติดตั้ง จากนั้น upload ไฟล์ ISO Images ที่จะใช้ไปไว้ที่ Storage > Local (pve) โดยเมนู ISO Images มันอาจจะมา ๆ หาย ๆ ต้องคลิกไปมาสักพักเดี๋ยวโผล่มาเอง 6.สร้าง VM จากเมนูสีฟ้าด้านขวาบน ชื่อ Create VM 6.1 เลือก Node, เลือก VMID, ตั้งชื่อ, เลือกไฟล์ ISO ที่จะใช้ติดตั้ง (จะ list มาจากที่ upload ไว้/หรือจะไม่ใช้ก็ได้), กำหนดขนาด HDD, CPU, RAM 6.2 ติดตั้งเสร็จตรงเมนู Virtual Machine จะแสดง VMID ตามด้วยชื่อ 6.3 ที่เมนู Hardware สามารถปรับเปลี่ยนอะไหล่ต่าง ๆ ได้ เช่น ชนิดของ BIOS, HDD 6.4 เมนู Option สามารถปรับแต่งเพิ่มเต

Install OS on ESXi Arm

Image
 Install OS on ESXi Arm 1.ติดตั้ง Ubuntu Server Arm 1.1 download ไฟล์ติดตั้งจาก https://ubuntu.com/download/server/arm 1.2 สร้าง VM ใหม่ เลือก boot จากไฟล์ ISO แล้วติดตั้งตามปกติ 2.ติดตั้ง RaspiOS Arm 2.1 download ไฟล์ image จาก https://downloads.raspberrypi.org/raspios_arm64/images/ 2.2 แตกไฟล์แล้วแปลงเป็น VMDK sudo apt install qemu-utils qemu-img convert -f raw 2020-05-27-raspios-buster-arm64.img -O vmdk 2020-05-27-raspios-buster-arm64.vmdk 2.3 upload ไฟล์ไปไว้ที่ ESXi host แล้ว SSH เข้าไปแปลง disk แบบ thin อีกที (ต้อง start service SSH ก่อน) cd /vmfs/volumes/datastore1 vmkfstools -i 2020-05-27-raspios-buster-arm64.vmdk -d thin raspios-buster-arm64.vmdk 2.4 สร้าง VM ใหม่ โดยใช้ disk จากไฟล์ VMDK ที่สร้างขึ้น แต่จะยัง boot ไม่ได้ 2.5 download ไฟล์ ISO ของ Debian 10.x Arm Network Installer ISO จาก https://cdimage.debian.org/debian-cd/current/arm64/iso-cd/ เพื่อมาติดตั้ง grub โดยตั้งค่าให้ boot จากไฟล์ ISO นี้ 2.6 เมื่อ boot เข้า grub menu ให้เลือก  Advanced options >  Rescue Mode แล

ESXi Arm on Raspberry Pi4 /Pi400

 ESXi Arm on Raspberry Pi4 /Pi400 1.update EEPROM sudo rpi-eeprom-update -a sudo reboot 2.flash EEPROM recovery โดยใช้ Raspberry Pi Imager แล้วเอาไปเปิดเครื่อง led จะกระพริบไม่หยุด จากนั้นปิดเครื่อง 3.update firmware  3.1 ลบไฟล์ใน sdcard แล้ว download    https://github.com/raspberrypi/firmware  มาแตกแล้วลบ 4  ไฟล์ที่ขึ้นต้นด้วย " kernel"  ใน /boot 3.2 download UEFI firmware แล้ววางทับไปใน /boot 3.3 copy file ใน /boot ไปวางใน sdcard 3.4 แก้ไฟล์ config.txt เพิ่มบรรทัด  gpu_mem=32 3.5 เอา sdcard ไปเปิดเครื่องจะเจอ logo raspberry pi ให้กด ESC เพื่อเข้าไปตั้งค่า UEFI 3.6 เข้าเมนู Device Manager > Raspberry Pi Configuration > Advanced Configuration แล้วเลือก Disabled ตรง  Limit RAM to 3GB 4.ติดตั้ง ESXi Arm 4.1 download จาก https://flings.vmware.com/esxi-arm-edition#summary แล้ว flash ลง USB drive 4.2 เปิดเครื่องโดยเลือกให้ boot จาก USB เมื่อเข้าหน้า loading ของ ESXi ให้กด SHIFT+O แล้วพิมพ์ข้อความเพิ่มต่อท้าย parameter เดิมว่า autoPartitionOSDataSize=8192 เพื่อไม่ให้ ESXi ใช้

Install Transmission + Plex on Raspberry Pi

1.install Transmission apt install transmission-daemon sudo service transmission-daemon start #test at the IP:9091 sudo service transmission-daemon stop sudo nano /etc/transmission-daemon/settings.json #edit about rpc to access web interface sudo service transmission-daemon start 2.install new web interface wget  https://github.com/ronggang/transmission-web-control/raw/master/release/install-tr-control.sh sudo chmod +x  install-tr-control.sh sudo ./ install-tr-control.sh #select  Installing from 'master' Repository. 3.download and install Plex from  https://www.plex.tv/media-server-downloads/#plex-media-server #and go to the IP:32400/web 4.modify some permissions sudo service plexmediaserver stop #sudo nano /etc/fstab #UUID=4bf3496b-6db0-4d3f-8790-2e9866290625 /usb/plexb4t  ext4  defaults,auto,rw,nofail 0 1 #UUID=1ed37a88-5975-40e7-8d94-918fb84f5afb /usb/plexr4t  ext4  defaults,auto,rw,nofail 0 1 #sudo mkdir /usb #sudo mkdir /usb/plexb4t #sudo mkdir /usb/plexr4t sudo chown -R k

Google Drive backup on Linux Mint 19

Image
บน OS อื่น Google มี Official App สำหรับช่วย Backup และ Sync ข้อมูลใน Google Drive ตามนี้  https://www.google.com/drive/download/backup-and-sync/  แต่ฝั่ง Linux ยังไม่มี จึงต้องอาศัยตัวช่วยอย่างไม่เป็นทางการได้แก่ rclone ( https://rclone.org/ ) ซึ่งไม่จำกัดแค่ Google Drive เพราะคุณสมบัติของเขาคือ rsync for cloud storage  รองรับ cloud หลายยี่ห้อมาก 1.ติดตั้ง 1.1 App หลัก : apt install rclone 1.2 GUI :  https://www.ubuntuupdates.org/package/webupd8/bionic/main/base/rclone-browser 2.ใช้งาน 2.1 เรียกใช้งานผ่าน Rclone Browser โดยเริ่มจากการ config ซึ่งจะเรียก CLI ขึ้นมาอีกที ดังนี้ n) New remote r) Rename remote c) Copy remote s) Set configuration password q) Quit config n/r/c/s/q> n name> Google Drive Type of storage to configure. Choose a number from below, or type in your own value  1 / Amazon Drive    \ "amazon cloud drive"  2 / Amazon S3 (also Dreamhost, Ceph, Minio)    \ "s3"  3 / Backblaze B2    \ "b2"  4 / Dropbox    \ &quo